พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระร่วงนั่งหลัง...
พระร่วงนั่งหลังลิ่ม กรุเขาพนมเพลิง
พระร่วงนั่งหลังลิ่ม พบครั้งแรกที่ กรุวัดช้างล้อม สุโขทัย วัดช้างล้อมนี้เป็นวัดสำคัญสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นวัดหลวงในสมัยนั้น บริเวณวัดแห่งนี้มีพระเจดีย์องค์ใหญ่ ที่ฐานโดยรอบมีรูปปั้นช้างอยู่โดยรอบฐานพระเจดีย์ นับได้ 36 เชือก สันนิษฐานว่าสร้างไว้ตั้งแต่ราวปี พ.ศ.1829-1835 และพระเจดีย์ในลักษณะนี้ยังพบที่จังหวัดกำแพงเพชรอีกด้วย ซึ่งเป็นพระเจดีย์ที่สร้างในรูปแบบเดียวกันคือที่ด้านบนเป็นเจดีย์ทรงระฆังคว่ำ ฐานมีขนาดใหญ่และมีรูปปั้นช้างรายรอบอยู่ที่ฐานลักษณะเดียวกับที่วัดช้างล้อม สุโขทัย ที่กำแพงเพชรเรียกชื่อวัดว่า "วัดช้างลอบ"
ส่วนที่วัดช้างล้อม สุโขทัยนี้ประมาณปี พ.ศ.2480 ได้มีการขุดพบพระเครื่องเนื้อชินเงินเป็นพระประทับนั่งปางมารวิชัย ที่ด้านหลังเป็นร่องราง ซึ่งสังเกตดูที่ด้านหลังแล้ว ตอนที่เทหล่อพระต้องมีแบบพิมพ์ประกบที่ด้านหลัง และสามารถดูเอกลักษณ์ของแม่พิมพ์ที่ด้านหลังได้ ซึ่งถือเป็นข้อสรุปพระแท้-ไม่แท้ได้ด้วย เนื่องจากลักษณะที่ด้านหลังเป็นร่องคล้ายลิ่ม จึงมีการตั้งชื่อว่า "พระร่วงนั่งหลังลิ่ม" นั่นเองครับ พระที่พบทั้งหมดเป็นเนื้อชินเงิน
หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2495 ก็มีการพบอีกครั้งที่กรุเดียวกัน และในปี พ.ศ.2500 ยังพบพระในลักษณะเดียวกันอีกที่บ้านแก่งสาระจิต และกรุวัดเจดีย์เจ็ดแถว แต่พระที่พบที่บ้านแก่งสาระจิตและกรุเจดีย์เจ็ดแถวนั้น พระจะมีผิวปรอทขาวมากกว่า ส่วนพระที่พบที่กรุวัดช้างล้อมนั้นจะมีผิวดำเป็นส่วนมาก นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2507 ยังพบพระร่วงนั่งที่มีลักษณะคล้ายกับพระร่วงนั่งหลังลิ่มอีกที่กรุวัดเขาพนมเพลิงแต่องค์พระจะไม่ค่อยลึกชัดนักและมีขนาดเล็กกว่าของกรุวัดช้างล้อม อีกทั้งด้านหลังจะเป็นแบบหลังตันทั้งหมด เข้าใจว่าน่าจะสร้างล้อหลังจากที่สร้าง พระร่วงนั่งหลังลิ่มกรุวัดช้างล้อม แล้ว
พุทธลักษณะของ พระร่วงนั่งหลังลิ่ม มีศิลปะไม่ค่อยเป็นแบบศิลปะสุโขทัยนัก ศิลปะจะออกไปทางศิลปะอู่ทองสุวรรณภูมิ เนื่อง จากมีไรพระศกและเส้นขอบสบงเด่นชัด พระเกศก็เป็นแบบฝาละมีคว่ำ ซึ่งเป็นลักษณะศิลปะแบบอู่ทองสุวรรณภูมิ ส่วนพุทธคุณดีครบเครื่อง และเด่นในทางด้านแคล้วคลาดภยันตราย ปัจจุบันเป็นพระที่หายาก
ผู้เข้าชม
937 ครั้ง
ราคา
1x,xxx
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
Anakee99
ชื่อร้าน
บัวอุบล
ร้านค้า
buaubon.99wat.com
โทรศัพท์
0649929478
ไอดีไลน์
tuikon99
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 475-2-63341-5
พระชัยฯเศียรลาย พระครูพรหมศร ร
สมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์นักเลงโต
เหรียญหล่อใบพุทราหลวงพ่อเงิน อ
สมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์เข่าบ่วง
นางพญากรุวัดสุดสวาสดิ์
กำแพงท่ามะปรางค์
เหรียญหล่อพรหมหลวงปู่ดู่ ปี 22
พระปิดตาโต๊ะกัง หลวงพ่อทา วัดพ
เหรียญหลวงพ่อแพ รุ่นแรก ยันต์ข
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
trairat
เปียโน
อ้วนโนนสูง
sangsuriyachai
ยิ้มสยาม573
เจริญสุข
โจ้ ลำนารายณ์
Erawan
หริด์ เก้าแสน
เทพจิระ
ภูมิ IR
ponsrithong2
บารมีหลวงปู่ผาง
บี บุรีรัมย์
ep8600
kaew กจ.
นะโคราช
Pakpoom1996
Kittipan
stp253
neangkokram
โกหมู
พีพีพระเครื่อง
hopperman
จ่าดี พระกรุ
ทองบ้านใน
natthanet
Spiderman
jocho
พระพรหมริน
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1432 คน
เพิ่มข้อมูล
พระร่วงนั่งหลังลิ่ม กรุเขาพนมเพลิง
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระร่วงนั่งหลังลิ่ม กรุเขาพนมเพลิง
รายละเอียด
พระร่วงนั่งหลังลิ่ม พบครั้งแรกที่ กรุวัดช้างล้อม สุโขทัย วัดช้างล้อมนี้เป็นวัดสำคัญสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นวัดหลวงในสมัยนั้น บริเวณวัดแห่งนี้มีพระเจดีย์องค์ใหญ่ ที่ฐานโดยรอบมีรูปปั้นช้างอยู่โดยรอบฐานพระเจดีย์ นับได้ 36 เชือก สันนิษฐานว่าสร้างไว้ตั้งแต่ราวปี พ.ศ.1829-1835 และพระเจดีย์ในลักษณะนี้ยังพบที่จังหวัดกำแพงเพชรอีกด้วย ซึ่งเป็นพระเจดีย์ที่สร้างในรูปแบบเดียวกันคือที่ด้านบนเป็นเจดีย์ทรงระฆังคว่ำ ฐานมีขนาดใหญ่และมีรูปปั้นช้างรายรอบอยู่ที่ฐานลักษณะเดียวกับที่วัดช้างล้อม สุโขทัย ที่กำแพงเพชรเรียกชื่อวัดว่า "วัดช้างลอบ"
ส่วนที่วัดช้างล้อม สุโขทัยนี้ประมาณปี พ.ศ.2480 ได้มีการขุดพบพระเครื่องเนื้อชินเงินเป็นพระประทับนั่งปางมารวิชัย ที่ด้านหลังเป็นร่องราง ซึ่งสังเกตดูที่ด้านหลังแล้ว ตอนที่เทหล่อพระต้องมีแบบพิมพ์ประกบที่ด้านหลัง และสามารถดูเอกลักษณ์ของแม่พิมพ์ที่ด้านหลังได้ ซึ่งถือเป็นข้อสรุปพระแท้-ไม่แท้ได้ด้วย เนื่องจากลักษณะที่ด้านหลังเป็นร่องคล้ายลิ่ม จึงมีการตั้งชื่อว่า "พระร่วงนั่งหลังลิ่ม" นั่นเองครับ พระที่พบทั้งหมดเป็นเนื้อชินเงิน
หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2495 ก็มีการพบอีกครั้งที่กรุเดียวกัน และในปี พ.ศ.2500 ยังพบพระในลักษณะเดียวกันอีกที่บ้านแก่งสาระจิต และกรุวัดเจดีย์เจ็ดแถว แต่พระที่พบที่บ้านแก่งสาระจิตและกรุเจดีย์เจ็ดแถวนั้น พระจะมีผิวปรอทขาวมากกว่า ส่วนพระที่พบที่กรุวัดช้างล้อมนั้นจะมีผิวดำเป็นส่วนมาก นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2507 ยังพบพระร่วงนั่งที่มีลักษณะคล้ายกับพระร่วงนั่งหลังลิ่มอีกที่กรุวัดเขาพนมเพลิงแต่องค์พระจะไม่ค่อยลึกชัดนักและมีขนาดเล็กกว่าของกรุวัดช้างล้อม อีกทั้งด้านหลังจะเป็นแบบหลังตันทั้งหมด เข้าใจว่าน่าจะสร้างล้อหลังจากที่สร้าง พระร่วงนั่งหลังลิ่มกรุวัดช้างล้อม แล้ว
พุทธลักษณะของ พระร่วงนั่งหลังลิ่ม มีศิลปะไม่ค่อยเป็นแบบศิลปะสุโขทัยนัก ศิลปะจะออกไปทางศิลปะอู่ทองสุวรรณภูมิ เนื่อง จากมีไรพระศกและเส้นขอบสบงเด่นชัด พระเกศก็เป็นแบบฝาละมีคว่ำ ซึ่งเป็นลักษณะศิลปะแบบอู่ทองสุวรรณภูมิ ส่วนพุทธคุณดีครบเครื่อง และเด่นในทางด้านแคล้วคลาดภยันตราย ปัจจุบันเป็นพระที่หายาก
ราคาปัจจุบัน
1x,xxx
จำนวนผู้เข้าชม
938 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
Anakee99
ชื่อร้าน
บัวอุบล
URL
http://www.buaubon.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0649929478
ID LINE
tuikon99
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกสิกรไทย / 475-2-63341-5
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี